Facebook สาขาวิชา 

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

การเรียนการสอน

  • วางแผน ดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงการบริหารงานคุณภาพ การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • ปฏิบัติงานอาชีพตามหลักการและแบบแผนที่กำหนด โดยใช้ / เลือกใช้ / ปรับใช้ กระบวนการปฏิบัติงานที่เหมาะสม
  • เลือกใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพตามหลักการและกระบวนการโดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย
  • ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่อพัฒนาและสนับสนุนงานอาชีพ
  • วางแผนดำเนินงานตามหลักการจัดการธุรกิจค้าปลีกเพื่อพัฒนาและสนับสนุนงานอาชีพ
  • ประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการให้เหมาะสมกับประเภทของธุรกิจ
  • วางแผนดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการเพื่อสร้างทีมนักขาย
  • ประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อพัฒนาขีดความสามารถการบริการลูกค้าในธุรกิจค้าปลีก
  • ดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการภาวะผู้นำและการบริหารงานบุคคล
  • วางแผนดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการการจัดการสินค้าและบริการในธุรกิจค้าปลีก
  • เลือกใช้และปฏิบัติการจัดการความปลอดภัยและความเสี่ยงให้เหมาะสมกับสถานการณ์

แนวทางการประกอบอาชีพ

เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย ผู้จัดการฝ่ายผลิต ผู้จัดการแผนกคลังสินค้า ผู้จัดการฝ่ายขนส่งสินค้า ผู้จัดการฝ่ายโลจิสติกส์ พนักงานฝ่ายวิเคราะห์การตลาดและพัฒนาธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่และขนาดย่อม พนักงานฝ่ายบริหารสินค้าคงคลังและโลจิสติกส์ พนักงานฝ่ายออกแบบและตกแต่งร้านค้าปลีก พนักงานฝ่ายบริหารงานธุรกิจบริการทุกรูปแบบ พนักงานฝ่ายบริหารงานธุรกิจค้าปลีกแบบไม่มีหน้าร้านหรือธุรกิจค้าปลีกทางอินเตอร์เน็ต พนักงานฝ่ายบริหารงานธุรกิจค้าปลีกในระบบแฟรนไชส์ พนักงานฝ่ายบริหารงานศูนย์กระจายสินค้า ผู้ประกอบการธุรกิจ ที่ปรึกษาทางด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก

รายได้ (เริ่มต้น)

  • ภาครัฐ 6,000 – 8,000 บาท
  • ภาคเอกชน 7,000 – 9,000 บาท
  • อาชีพอิสระ ขึ้นอยู่กับความสามารถและประสบการณ์

การศึกษาต่อ

สามารถศึกษาต่อในระดับ ปวส. และปริญญาตรีได้

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) ระบบทวิภาคี

การเรียนการสอน

  • วางแผน ดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงการบริหารงานคุณภาพ การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • ปฏิบัติงานอาชีพตามหลักการและแบบแผนที่กำหนด โดยใช้ / เลือกใช้ / ปรับใช้ กระบวนการปฏิบัติงานที่เหมาะสม
  • เลือกใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพตามหลักการและกระบวนการโดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย
  • ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่อพัฒนาและสนับสนุนงานอาชีพ
  • วางแผนดำเนินงานตามหลักการจัดการธุรกิจค้าปลีกเพื่อพัฒนาและสนับสนุนงานอาชีพ
  • ประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการให้เหมาะสมกับประเภทของธุรกิจ
  • วางแผนดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการเพื่อสร้างทีมนักขาย
  • ประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อพัฒนาขีดความสามารถการบริการลูกค้าในธุรกิจค้าปลีก
  • ดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการภาวะผู้นำและการบริหารงานบุคคล
  • วางแผนดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการการจัดการสินค้าและบริการในธุรกิจค้าปลีก
  • เลือกใช้และปฏิบัติการจัดการความปลอดภัยและความเสี่ยงให้เหมาะสมกับสถานการณ์

แนวทางการประกอบอาชีพ

เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย ผู้จัดการฝ่ายผลิต ผู้จัดการแผนกคลังสินค้า ผู้จัดการฝ่ายขนส่งสินค้า ผู้จัดการฝ่ายโลจิสติกส์ พนักงานฝ่ายวิเคราะห์การตลาดและพัฒนาธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่และขนาดย่อม พนักงานฝ่ายบริหารสินค้าคงคลังและโลจิสติกส์ พนักงานฝ่ายออกแบบและตกแต่งร้านค้าปลีก พนักงานฝ่ายบริหารงานธุรกิจบริการทุกรูปแบบ พนักงานฝ่ายบริหารงานธุรกิจค้าปลีกแบบไม่มีหน้าร้านหรือธุรกิจค้าปลีกทางอินเตอร์เน็ต พนักงานฝ่ายบริหารงานธุรกิจค้าปลีกในระบบแฟรนไชส์ พนักงานฝ่ายบริหารงานศูนย์กระจายสินค้า ผู้ประกอบการธุรกิจ ที่ปรึกษาทางด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก

รายได้ (เริ่มต้น)

  • ภาครัฐ 8,000 - 15,000 บาท
  • ภาคเอกชน 9,000 - 18,000 บาท
  • อาชีพอิสระ ขึ้นอยู่กับความสามารถและประสบการณ์

การศึกษาต่อ

สามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีได้ (2 ปี ต่อเนื่อง)
ครูผู้สอน

นางสาวมุดา  เขียวจั่น

  หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
ข้าราชการครู

นางสาวทิวาพร  เชื้อหมอ

  ครูสาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
ข้าราชการครู

นายกนกพล  มากบำรุง

  ครูสาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
ครูพิเศษสอน

หน้าที่และความรับผิดชอบ

  1. การจัดทำแผนการจัดการเรียนการสอน ตารางเรียน ตารางสอน บัญชีวิชาเลือก จัดตารางสอนรวมและตารางส่วนบุคคลของแผนกวิชา
  2. ควบคุมดูแล ส่งเสริม กำกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอน แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน การฝึกงาน การวัดผลประเมินผล และการวิจัยในแผนกวิชาให้เป็นไปตามหลักสูตรและระเบียบแบบแผนของทางราชการ
  3. วางแผนและดำเนินงานด้านมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาของแผนกวิชา เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอย่างต่อเนื่องและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้
  4. จัดหาดูแลรักษาวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือของแผนกวิชาให้ใช้งานได้เป็นปกติ และมีเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน
  5. สนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอน นวัตกรรม เทคโนโลยี และสิ่งประดิษฐ์ การใช้อุปกรณ์การเรียนการสอน การเขียนตำรา เอกสาร และใบช่วยสอนต่าง ๆ
  6. ติดตามและแนะนำเกี่ยวกับการทำโครงการฝึก โครงการสอน แผนการเรียนรู้ คู่มือครู ใบงาน ตลอดจนแฟ้มสะสมงาน โดยบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้สอดคล้องกับหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนการสอน
  7. ควบคุมการใช้วัสดุการศึกษา และลงทะเบียนผลิตผลของแผนกวิชาให้เป็นไปตามใบงาน
  8. ควบคุมดูแลและพัฒนาสำนักงาน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ให้สะอาดเรียบร้อยทันสมัยอยู่เสมอ
  9. ปกครองดูแลบุคลากรในแผนกวิชาให้ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และเสนอความดีความชอบของบุคลากรในแผนกวิชา
  10. ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
  11. จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน เสนอโครงการและรายงานการปฏิบัติงานตามลำดับขั้น
  12. ดูแล บำรุงรักษา และรับผิดชอบทรัพย์สินของสถานศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
  13. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

Copyright©2023 Uttaradit Vocational College.All Right Reserved.
งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์
เลขที่ 9 ถนนแปดวา ต.ท่าอิฐ อ.เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ โทรศัพท์ : 055411221